กรมป่าไม้
สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้
งานอุตสาหกรรมวัสดุทดแทนไม้
 


โครงการพัฒนากาวติดไม้ ภายใต้งานอุตสาหกรรมวัสดุทดแทนไม้ --- สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้

หน่วยงานสนับสนุนการพัฒนา
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ(เอ็มเทค)
โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย(ITAP) สวทช.
คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

>> | หน้าหลัก | ประเภทกาว | การติดกาวประสานไม้ | <<

11. การตรวจสอบ

ขั้นตอนต่าง ๆ ข้างต้นจำเป็นต้องคอยหมั่นตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ชิ้นงานหรือผลิตภัณฑ์ที่ติดกาวเรียบร้อยแล้ว ก็ต้องทำการตรวจสอบด้วยวิธีการง่าย ๆ คือ การตรวจด้วยการแซะมีด (knife test) โดยการตอกสิ่วลงบนแนวรอยต่อกาวแล้วตรวจดูพื้นผิวไม้ที่แตกหักตรงรอยต่อนั้น วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายสำหรับดูคุณภาพการใช้กาว แม้ว่ากาวจะยังไม่แข็งตัวเต็มที่ซึ่งต้องใช้เวลาหลายวันก็ตาม ซึ่งในบางกรณีสำหรับกาวประเภทอิมัลชั่นที่ต้องการให้ต้านทานน้ำได้ดี อาจต้องรอให้เกิดการแข็งตัวที่จะใช้งานได้เต็มที่ ถึง 14 วัน โดยเฉพาะชิ้นงานที่ผลิตนำมาใช้เป็นหน้าโต๊ะและกรอบหน้าต่าง
ในปัจจุบันมีการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไม้อัดกาวในโรงงานใหญ่ ๆ โดยเฉพาะเพื่อการส่งออก อยู่ 2 มาตรฐานใหญ่ ๆ คือ
JAS (Japanese Agricultural Standard) Testing Method For Tabletops and Windows Frames
EN 204/205 , European standards for classifying the Non-Structural Glued Laminated Wood Products

>> | หน้าหลัก | ประเภทกาว | การติดกาวประสานไม้ |<<


โครงการพัฒนากาวติดไม้ (Wood Adhesion and Adhesives Development Project)
งานอุตสาหกรรมวัสดุทดแทนไม้ กลุ่มงานพัฒนาอุตสาหกรรมไม้และป้องกันรักษาเนื้อไม้
สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ กรมป่าไม้
ชั้น 5 อาคารสุรัสวดี 61 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทร. 0-2561-4292-3 ต่อ 471 โทรสา่ร 0-2940-6285 E-mail : [email protected]