โครงการพัฒนากาวติดไม้ ภายใต้งานอุตสาหกรรมวัสดุทดแทนไม้ --- สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้

หน่วยงานสนับสนุนการพัฒนา
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ(เอ็มเทค)
โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย(ITAP) สวทช.
คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

>> | หน้าหลัก | ประเภทกาว | การติดกาวประสานไม้ | <<

6. ช่วงเวลาประกบเพื่อรออัด (assembly time)

ช่วงเวลาประกบเพื่อรออัดเป็นระยะเวลาที่เริ่มจากการทากาวจนกระทั่งทำการอัด สำหรับไม้เนื้อแข็งนั้นจะต้องใช้ช่วงเวลาประกบเพื่อรออัดที่นานขึ้นเพื่อให้กาวซึมซาบบนผิวหน้าไม้ก่อนทำการอัด ช่วงเวลาประกบเพื่อรออัดขึ้นอยู่กับปริมาณกาว อุณหภูมิ ความชื้นของไม้ ชนิดไม้ ฯลฯ
ช่วงเวลาประกบเพื่อรออัดมี 2 ประเภท คือ ช่วงเวลารอประกบ (open assembly time) และ ช่วงเวลารออัด (closed assembly time) ซึ่งบ่อยครั้งในเอกสารกำกับจากผู้ผลิตมักจะระบุไว้ ช่วงเวลารอประกบเป็นช่วงระยะเวลาที่ชิ้นไม้ที่ทากาวแล้ว
ปล่อยเปิดทิ้งไว้ เพื่อรอการประกบกัน ส่วนช่วงเวลารออัดเป็นระยะเวลาที่ หลังจากชิ้นไม้ที่ทากาวแล้วประกบปิดกันแต่ยังไม่ทำการอัด โดยหลักการแล้วช่วงเวลารออัดจะเป็น 2 เท่าของช่วงเวลารอประกบ

 
 

>> | หน้าหลัก | ประเภทกาว | การติดกาวประสานไม้ | <<

 

โครงการพัฒนากาวติดไม้ (Wood Adhesion and Adhesives Development Project)
งานอุตสาหกรรมวัสดุทดแทนไม้ กลุ่มงานพัฒนาอุตสาหกรรมไม้และป้องกันรักษาเนื้อไม้
สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ กรมป่าไม้
ชั้น 5 อาคารสุรัสวดี 61 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทร. 0-2561-4292-3 ต่อ 471 โทรสา่ร 0-2940-6285 E-mail : [email protected]

กรมป่าไม้
สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้
งานอุตสาหกรรมวัสดุทดแทนไม้